1. ปิดเครื่องแล้วใส่ hdd เข้าไป
2. ดูว่ามี hdd ที่เราใส่เข้าไปรึเปล่า
fdisk -l
จะได้แสดงข้อความประมาณนี้
Disk /dev/sda: 80.0 GB, 80000000000 bytes
255 heads, 63 sectors/track, 9726 cylinders
Units = cylinders of 16065 * 512 = 8225280 bytes
Device Boot Start End Blocks Id System
/dev/sda1 * 1 9472 76083808+ 83 Linux
/dev/sda2 9473 9726 2040255 82 Linux swap / Solaris
Disk /dev/sdb: 80.0 GB, 80026361856 bytes
255 heads, 63 sectors/track, 9729 cylinders
Units = cylinders of 16065 * 512 = 8225280 bytes
Disk /dev/sdb doesn't contain a valid partition table
3. ใช้คำสั่ง
fdisk /dev/sdb
ทำการสร้าง patition โดยการกด n
เสร็จแล้วให้กด w เพื่อ write สิ่งที่ทำ
(นึกไม่ออกให้กด m ดู help เอา)
4. ใช้คำสั่ง
mkfs.ext3 /dev/sdb1
เพื่อ format file system ของ partition ที่สร้าง
5. สร้าง folder ที่ต้องการเอามาใช้งาน
กรณีนี้ต้องการเอามาใช้เก็บ log ของ apache ก็ให้ใช้คำสั่ง
mkdir /var/log/httpd
6. ทดสอบการใช้งานโดยใช้คำสั่ง
mount -t ext3 /dev/hdb1 /test1
7. ตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่โดยใช้คำสั่ง
df -h
จะแสดงผลดังตัวอย่าง
Filesystem Size Used Avail Use% Mounted on
/dev/sda1 71G 64G 3.1G 96% /
tmpfs 2.0G 0 2.0G 0% /dev/shm
/dev/sdb1 74G 27G 44G 38% /var/log/httpd
8. หลังจากนั้นให้ทำการแก้ไขไฟล์ /etc/fstab โดยเพิ่มบรรทัดด้านล่างนี้
/dev/sdb1 /var/log/httpd ext3 defaults 1 2
9. restart เครื่องทีหนึ่งดูว่าทำการได้รึเปล่า ถ้าไม่มีปัญหาอะไรก็ถือว่าผ่าน
หมายเหตุ 1
คำอธิบายของ /etc/fstab
# device name mount point fs-type options dump-freq pass-num
/dev/sdb1 /var/log/httpd ext3 defaults 1 2
หมายเหตุ 2
ถ้าแก้ไข /etc/fstab แล้วเจอ error ว่าไฟล์ /etc/fstab มีปัญหาจะเข้าโหมด recover แล้วจะไม่สามารถแก้ไขไฟล์ /etc/fstab ได้ต้องใช้คำสั่ง
mount -n -o remount /
หรือถ้าต้องการระบุ hdd ก็ให้ใส่
mount -n -o remount -t ext2 /dev/sda2 /
(แค่ mount -n -o remount / ก็พอ)
No comments:
Post a Comment